ส่วนประกอบของแคน

                    ส่วนประกอบของแคน



   ลูกแคน คือไม้ไผ่ที่นำมาประกอบเป็นแคน หรือจะใช้ไม้ซาง ซึ่งเป็นพืชไม่ไผ่ลำเล็กๆ มีปล้องยาวและมีขนาดยาวเท่าหัวแม่มือ  โดยนำมาตัดให้ได้ขนาดความยาวที่ต้องการ (มีตั้งแต่ 80 เซนติเมตรถึงสามเมตร) แล้วลนไฟเพื่อตัดให้ตรงจากนั้นทะลุข้อออก  เพื่อให้ลมผ่านตรงกลางของไม้ลูกแคนเจาะรูกลมเล็กๆ  ลำละ 1 รู  สำหรับใช้นิ้วปิดเปิดเวลาบรรเลงแคนแต่ละวงมีจำนวนลูกแคนไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับชนิดของแคน



    เต้าแคน  คือ  ปล้องตรงกลางแคน  มีลักษณะกระเปาะทำขึ้นเพื่อประกบเป็นลุกแคนทุกลำเข้าด้วยกันและหุ้มลิ้นลูกแคนไว้  เต้าแคนถูกเจาะรูกลม  เพื่อใช้ปากเป่าให้ลมผ่านลิ้นแคนทุกลิ้น  นำขี้สูดมาปิดระหว่างเต้าแคนกับลุกแคน  เพื่อกันไม่ให้ลมที่เป่าไปรั่วออกมา  ไม้ที่นิยมนำมาทำเต้าแคนคือไม้ประดู่  ไม้พยุง  ไม้แคน  ไม้ตะเคียน  ไม่หนามแท่ง  เป็นต้น

ลักษณะเต้าแคน


   หลาบโลหะ  คือ  แผ่นโลหะบางๆ  ที่สกัดออกเป็นลิ้นแคนโดยมาใช้โลหะผสมกับทองแดงกับเงิน  แผ่นโลหะหนึ่งยาวประมาณ 3 เซนติเมตร  กว้าง ประมาณ 4 เซนติเมตร




                                   ที่มา  https://www.google.co.th/search?q=
 
 ขี้สูท (ชันณรงค์)  เป็นขี้ผึ้งเหนียวสีดำจากรังของแมลงชนิดหนึ่งมีคุณสมบัติเหนียวไม่ติดมือและไม่แห้งกรอบ  ใช้ผนึกระหว่างลูกแคนกับเต้าแคน


ที่มา  http://www.thaiesan.net/

ได้มาจากแมลง
                               
                                      ที่มา   https://www.google.co.th/search?q=

เป็นขี้สูท(ชันณรงค์) ที่พร้อมทำแคน

การนำมาประกอบทำแคน

ที่มาhttps://www.google.co.th/search?q=

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ค้นหาบล็อกนี้

ยอดคนดู

Powered By Blogger